คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ
  TH  EN
มหาวิทยาลัยทักษิณ
  
เว็บไซต์ใหม่   
 
 
ข้อมูลเพิ่มเติมบุคลากร
อาจารย์ ดร.พินิจ ดวงจินดา
หน่วยงานรัฐและเอกชน
รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา นกน้อย
อาจารย์อัตถพงศ์ เขียวแกร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรดา นวลประดิษฐ์
ธนาคาร
แบบสำรวจข้อมูลศิษย์เก่าสาขาเศรษฐศาสตร์
เปิดรับสมัครนิสิต ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปี
องค์อิสระ
เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
อาจารย์ ดร.ธนวิทย์ บุญสิทธิ์
ผลงานวิชาการ
การคำนวณ(ชื่อเรื่อง)
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา นกน้อย
ผลงานวิชาการอาจารย์ ดร.สัญชัย ลั้งแท้กุล
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา นกน้อย
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรจันทร์ ศิริโชติ
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา นกน้อย
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรจันทร์ ศิริโชติ
ผลงานวิชาการอาจารย์ ดร.พินิจ ดวงจินดา
อาจารย์วีณา ลีลาประเสริฐศิลป์
ผลงานวิชาการอาจารย์ ดร.พินิจ ดวงจินดา
อาจารย์ศรัญยา อิสรรักษ์
อาจารย์ฉันทิชา บัวศรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธรรม ขนาบศักดิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุษกร ถาวรประสิทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรจันทร์ ศิริโชติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา สุวรรณวิจิตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนิวัช แก้วจำนงค์
นางธรรญชนก ขนอม
นางสาวศิริพร เพ็ชรมณี
รองศาสตราจารย์ ดร.ชินสัคค สุวรรณอัจฉริย
อาจารย์ ดร.สุธี โง้วศิริ
อาจารย์ณฌา ขวัญมณี
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา นกน้อย
ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.สัญชัย ลั้งแท้กุล
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรจันทร์ ศิริโชติ
อาจารย์อรศิริ ลีลายุทธชัย
อาจารย์จิราพร คงรอด
อาจารย์ ดร.วรรณภรณ์ บริพันธ์
อาจารย์เกศแก้ว เจริญวิริยะภาพ
ผลงานวิชาการอาจารย์ธนวิทย์ บุญสิทธิ์
ผลงานวิชาการอาจารย์ ธนวิทย์ บุญสิทธิ์
ผลงานวิชาการอาจารย์ ธนวิทย์ บุญสิทธิ์
ผลงานวิชาการอาจารย์ ดร.วาสนา สุวรรณวิจิตร
ผลงานวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุษกร ถาวรประสิทธิ์
อาจารย์โชติญาณ์ หิตะพงศ์
อาจารย์ยงยุทธ รัตนสุวรรณ
อาจารย์เสาวลักษณ์ จันทร์ประสิทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ กาญจนมุกดา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุวัต สงสม
อาจารย์ ดร.นิจกานต์ หนูอุไร
สายตรงคณบดี
ข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะ
 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุวัต สงสม กลับหน้าหลัก

ชื่อ - สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุวัต สงสม
ตำแหน่ง : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร การค้าสมัยใหม่และนวัตกรรมบริการ
โทรศัพท์ : 074-317600 ต่อ 1828
โทรศัพท์ : 090-212-9444
E - Mail : sanuwat52@gmail.com
   
  
ประวัติการศึกษา
ระดับ/วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา/สาขาวิชา สถาบันการศึกษา / ประเทศ
ปริญญาเอก ปร.ด. การจัดการ ม.สงขลานครินทร์
  Ph.D. Academic Research  Massey University New Zealand
ปริญญาโท วท.ม. เศรษฐศาสตร์การเงินการคลัง ม.เกษตรศาสตร์
ปริญญาตรี (2) ศ.บ. เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช
ปริญญาตรี (1) วท.บ. เศรษฐศาสตร์เกษตร ม.เกษตรศาสตร์
 
              
ประวัติการทำงาน
ตำแหน่ง    หน่วยงาน เวลา
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและพัฒนาคุณภาพองค์กร คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยทักษิณ
ก.ค 2564 - พ.ค. 2565
ประธานหลักสูตร
การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่
คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยทักษิณ
ธ.ค. 2557 - ก.ค. 2564
ผู้ช่วยคณบดี,
อาจารย์
  สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
  มหาวิทยาลัยทักษิณ
ธ.ค. 2557 - พ.ค. 2560
หัวหน้าภาควิชา
หัวหน้าสาขา,
อาจารย์,
  สาขาวิชาการจัดการ ภาควิชาสังคมศาสตร์ 
  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี
มิ.ย. 2548 - พ.ย. 2557
 
 รางวัลที่ได้รับ
 
ปี พ.ศ.  รางวัล
2563 รางวัลยอดเยี่ยม การนำเสนอผลงานวิจัยประเภทบรรยาย(Oral Presentation) ในการประชุมวิชาการระดับชาตินนทรีอีสาน ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
2562 รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น(Best Paper Award) และรางวัลการนำเสนอภาคบรรยายดีเด่น(Best Presentation Award) จากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2561 รางวัลผลงานวิจัยระดับดี สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
จากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56
2560 รางวัล CRCI Popular Vote
จากการประชุมวิชาการ The 4th Conference on Research and Creative Innovations
2559 รางวัลนักวิจัยร่วม The IIER Excellent Paper Award
จากการประชุมนานาชาติ The 36th IIER International Conference
2559 รางวัลงานวิจัยภาคบรรยายยอดเยี่ยม
การประชุมวิชาการ The 3rd SAU Interdisciplinary Conference 2016
2559 รางวัล  Best Presentation Award
การประชุมวิชาการ The 6th BENJAMITRA Network National & International
Conference on Local Wisdom and Sustainable Development
2559 รางวัล  Best Paper Award สาขาบริหารธุรกิจ
การประชุมวิชาการ Payap Research Symposium 2016
2558 รางวัลบทความวิจัยระดับดี สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที 52  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2557 รางวัลนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น สาขาธุรกิจและการท่องเที่ยว
การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
2557 รางวัล  Best Paper สาขาเศรษฐศาสตร์
การประชุมวิชาการด้านการจัดการระดับชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2556 บทความวิจัยระดับดีเด่น สาขาบริหารธุรกิจ 
การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท)


ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์
(1) อนุวัต สงสม. (2566). โมเดลความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 10(1), 210-226.
(2) อนุวัต สงสม. (2565). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กไลฟ์. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 14(4), 174-184.
(3) อนุวัต สงสม และณลักขณา คิดเหมาะ. (2564). หลักสูตรการค้าสมัยใหม่และนวัตกรรมบริการความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. วารสารการเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 13(2), 163-178.
(4) อนุวัต สงสม และคณะ. (2564). การพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาการจัดการโลจิสติกส์ ตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 8(2), 147-163.
(5) อนุวัต สงสม. (2563). การสร้างเครือข่ายทางสังคมและการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีผลต่อการดำเนินงานเชิงดุลยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(1), 206-213.
(6) สูปียา มะ, อูไมซะห์ หะยีหวัง และ อนุวัต สงสม. (2563). อิทธิพลของคุณภาพระบบและความพึงพอใจต่อความภักดีในการใช้แอปพลิเคชันธนาคารของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(2), 113-124.
(7) นิธิ นิ่มปรางค์ และอนุวัต สงสม. (2562). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการยอมรับเทคโนโลยีคุณภาพของเว็บไซต์ ความไว้วางใจ และความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์: การซื้อสินค้าจากร้านออนไลน์ของผู้บริโภคใน เขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 11(1), 1-12.
(8) อนุวัต สงสม. (2561). ปัจจัยเชิงเหตุของความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์: กรณีศึกษาการซื้อสินค้า จากร้านค้าออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอร์เรชั่นซี. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 11(1), 2437-2451.
(9) Bunnam, C., Rinthaisong I., & Songsom,  A. (2017). Structural Equation Model of Causal Factors Predominating the Collaboration between Public Sectors and Community Organizations to Inhibit the Insurgency in the Unrest Areas of the Southernmost Provinces. Journal of Southeast Asian Studies, 22(2), 85-102.
(10) อนุวัต สงสม. (2560). ปัจจัยนำและผลลัพธ์ของการดำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม : กรณีศึกษาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 10(2), 1675-1686.
(11) อนุวัต สงสม. (2560). ความสามารถทางนวัตกรรม: การทบทวนวรรณกรรมและแบบจำลองเชิงแนวคิด เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุและผลลัพธ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 37(4), 125-137.
(12) คณน ไตรจันทร์, ธีรศักดิ์ จินดาบถ และอนุวัต สงสม. (2560). องค์ประกอบความมั่นคงทางอาหารระดับครัวเรือนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. Kasetsart Journal of Social Sciences, 38(1), 577-587.
(13) เฉลิมศักดิ์ บุญนำ, อิศรัฏฐ์ รินไธสง และอนุวัต สงสม. (2560). รูปแบบความร่วมมือกับภาครัฐขององค์กรชุมชนในการลดความรุนแรงสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 11(3), 118-132.
(14) อนุวัต สงสม. (2559). การสร้างคุณค่าตราสินค้าผ่านกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม : กรณีศึกษาธุรกิจการค้าสมัยใหม่ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 9(1), 383-394.
(15) นวิทย์ เอมเอก, อิศรัฏฐ์ รินไธสง และอนุวัต สงสม. (2558). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน สำหรับผู้ประกอบการการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 7(2), 23-39.
 (16) Amage, N., Songsom, A., & Rinthaisong, I. (2014). Factors Influencing to Behavioral Competency for Competitiveness and Success of Thai-Malaysia Border Trade Entrepreneurs. Journal of Management Research, 6(2), 221-231.
(17)  Songsom, A., & Trichun, C. (2013). Structural Equation Model of Customer Loyalty: Case Study of Traditional Retail Shop Customers in Hat Yai District, Songkhla Province, Thailand. Journal of Management Research, 5(1), 128-137.
(18)  อนุวัต สงสม. (2557). แบบจำลองสมการโครงสร้างการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 3(2), 51-56.
 (19) อนุวัต สงสม. (2556). แบบจำลองสมการโครงสร้างขององค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้า: กรณีศึกษา ลูกค้าของกิจการค้าปลีกประเภทไฮเปอร์มาร์ท ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(1), 1-18.
 (20) อนุวัต สงสม. (2556). แบบจำลองเชิงแนวคิดเกี่ยวกับอิทธิพลของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจที่มีต่อความภักดีของลูกค้า. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2(1): 41-54.
 (21) อนุวัต สงสม. (2555). การตลาดสีเขียว: มโนทัศน์ และพฤติกรรมผู้บริโภค. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), 65-84.
 (22) อนุวัต สงสม. (2555). แบบจำลองเชิงแนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ. วารสาร Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 5(1), 618-639.
 (23) อนุวัต สงสม. (2552). เศรษฐกิจของภาคครัวเรือนจังหวัดปัตตานี ภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 37-70.
 
ผลงานที่นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ
(1) อนุวัต สงสม. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะบัณฑิตสาขาวิชาการค้าสมัยใหม่และนวัตกรรมบริการ ตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในจังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการ การวิจัย และนวัตกรรมสร้างสรรค์ ระดับชาติครั้งที่ 6, เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
(2) อนุวัต สงสม. (2561). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ คุณภาพบริการ และความภักดีของลูกค้า กรณีศึกษา: ลูกค้าสายการบินต้นทุนต่ำเส้นทางในประเทศของสนามบินนานาชาติหาดใหญ่. ใน เอกสารการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 11, ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
(3) อนุวัต สงสม. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้และแบบวัดความเป็นผู้ประกอบการขององค์กร: กรณีศึกษา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการ การวิจัย และนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 4, เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา.
(4) อนุวัต สงสม. (2559). การพัฒนาโมเดลความได้เปรียบทางการแข่งขันผ่านกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม: กรณีศึกษาธุรกิจการค้าสมัยใหม่ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2559, เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ.
(5) อนุวัต สงสม. (2558). โมเดลกลยุทธ์การตลาดบริการสำหรับสร้างความภักดีของลูกค้า: กรณีศึกษาร้านอาหารญี่ปุ่น ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมระดับชาติ พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย ครั้งที่ 11, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
(6) อนุวัต สงสม. (2557). การวิเคราะห์กลุ่มพหุความภักดีของลูกค้าร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในภาคใต้. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 52, กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
(7) Songsom, A. (2013). An Empirical Investigation of Corporate Social Responsibility’s Effect on to Brand Equity: A Case Study of PTT Public Company Limited, Thailand. Proceedings of the 2nd International Management Conference (IMaC), 14th -15th December 2013, Terengganu, Malaysia.
(8) Songsom, A. (2012). Causal Relation Model of Corporate Social Responsibility to Customer Loyalty: Hypermarket Customers in Hat Yai District, Songkhla Province, Thailand. Proceedings of the 1st Conference on ASEAN Cultures and Modern World (CAC1), 13th October 2012, Terengganu, Malaysia.
(9) Songsom, A. (2012). A Proposed Conceptual Model of Customer Loyalty and Its Implications for Traditional Retail Stores. Proceedings of the 2nd International Conference in Business and Management and Information Sciences (ICBMIS), 19th -20th January 2012, Phitsanulok, Thailand.
(10) อนุวัต สงสม. (2557). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความภักดีของลูกค้ากิจการค้าปลีกสมัยใหม่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5, สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
(11) อนุวัต สงสม. (2556). อิทธิพลขององค์ประกอบของคุณค่าตราสินค้าจากมุมมองของลูกค้าที่มีต่อร้านกาแฟคาเฟ่อะเมซอนในจังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
(12) อนุวัต สงสม. (2556). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความภักดีของลูกค้า: กรณีศึกษาลูกค้าของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในภาคใต้. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2556, เชียงใหม่: สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย.
(13) อนุวัต สงสม. (2555). แบบจำลองสมการโครงสร้างขององค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้า: กรณีศึกษาลูกค้าของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารจัดการ ครั้งที่ 4, สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
(14) อนุวัต สงสม. (2555). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจและต้นทุนการเปลี่ยนบริการ ที่มีต่อความภักดีของลูกค้า: กรณีศึกษาลูกค้าของกิจการ ไฮเปอร์มาร์เก็ต ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ศรีนครินทรวิโรฒวิชาการ ครั้งที่ 6, กรุงแทพ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
(15) อนุวัต สงสม. (2554). ความภักดีของลูกค้า: มโนทัศน์ และการนำเสนอแบบจำลองเชิงแนวคิดสำหรับธุรกิจค้าปลีก. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการจัดการธุรกิจ ครั้งที่ 4, เชียงใหม่: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
   
ผลงานของนิสิตระดับปริญญาตรีในที่ปรึกษา และได้รับรางวัลงานวิจัยดีเด่น
(1) รางวัลการนำเสนอบทความวิจัยระดับชมเชย กลุ่มวิชาบริหารธุรกิจ
เอกพจน์ แสงขำ และอนุวัต สงสม. (2565). คุณภาพการบริการของที่พัก และภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยว อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 13,  สุรินทร์: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
(2) รางวัล Best Paper Award และรางวัลงานวิจัยคุณภาพระดับชมเชย
รัตนา แซ่ลิ่ม, อลิษา คงเทพ และอนุวัต สงสม. (2565). การตลาดเชิงประสบการณ์และคุณภาพความสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าร้านขนมบ้านโกไข่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 18,  นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
(3) รางวัล Best Paper Award และรางวัลงานวิจัยคุณภาพระดับชมเชย
ชญาตี โดนสวัสดิ์, ชญานี ปี่แสงเงิน และอนุวัต สงสม. (2565). คุณภาพการให้บริการและภาพลักษณ์องค์กร ที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท เคอรี่เอ็กซ์เพรส จำกัด ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 18,  นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
(4) รางวัลการนำเสนอยอดเยี่ยม
จันทร์ทิพย์ คงช่วย, ธนวรรณ ยุติศรี และอนุวัต สงสม. (2564). อิทธิพลความพึงพอใจของลูกค้าที่ส่งผลต่อคุณค่าตราสินค้าและความภักดีต่อร้านโมชิโมชิ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาตินนทรีอีสาน ครั้งที่ 9,  สกลนคร: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร.
(5) รางวัลบทความวิจัยระดับยอดเยี่ยม
เจษฎา จันทะศร, ธนบูรณ์ จันทร์เพ็ชร และอนุวัต สงสม. (2564). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการ ยอมรับเทคโนโลยี ความไว้วางใจ และความภักดีของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชั่นสั่งอาหารออนไลน์ ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 7, มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
(6) รางวัลการนำเสนอบทความวิจัยระดับดีเด่น
เจษฎา จันทะศร, ธนบูรณ์ จันทร์เพ็ชร และอนุวัต สงสม. (2564). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการ ยอมรับเทคโนโลยี ความไว้วางใจ และความภักดีของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชั่นสั่งอาหารออนไลน์ ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 7, มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
(7) รางวัลชนะเลิศ การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ กลุ่มบริหารธุรกิจ ภาคโปสเตอร์
ชุติกาญจน์ คณานุโกศล, ณัฐกานต์ กลิ่นพิทักษ์ และอนุวัต สงสม. (2563). คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ และความจงรักภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการเข้าพักโฮมสเตย์ในพื้นที่เกาะยอ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11, สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
(8) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ กลุ่มบริหารธุรกิจ ภาคบรรยาย
อัญชนา คงเกื้อ และอนุวัต สงสม. (2563). การตลาดเชิงประสบการณ์ และความพึงพอใจ ที่มีอิทธิพลต่อการบอกต่อ: กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาใช้บริการตลาดน้ำคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11, สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
(9) รางวัลชมเชย การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ กลุ่มบริหารธุรกิจ ภาคบรรยาย
อัญชนา เด็นหลี, ศุภอักษร เชื้อหงส์ และอนุวัต สงสม. (2563). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างคุณภาพบริการ ความพึงพอใจ และความจงรักภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เข้าพักโรงแรม เขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง. ใน เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11, สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. 
(10) รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ "ดีเด่น"
ศตพร เขมวงค์, จิตรภาณุ แก้วอรุณ และอนุวัต สงสม. (2563). แรงจูงใจ ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว และการตลาดเชิงประสบการณ์ ที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของย่านเมืองเก่า เทศบาลนครสงขลา: กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวไทย. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2563, ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
(11) รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ "ดีเด่น"
น้ำฝน เจริญธนวิธ, จุฑามาศ พูนเพิ่ม และอนุวัต สงสม. (2562). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และปัจจัยสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับชาติ ประจำปี 2562, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
(12) รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ "ดีเด่น"
นูรดีนี โตะแปเราะ,  อามีเนาะ หลงแดวา และ อนุวัต สงสม . (2562). ภาพลักษณ์และคุณค่าที่ได้รับจากแหล่งท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยว: กรณีศึกษา ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับชาติ ประจำปี 2562, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
(13) รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ "ดีเด่น"
วีริศ แก้วนัจภัค, สรณ์สิริ คล้ายทอง และและอนุวัต สงสม. (2562). อิทธิพลของคุณภาพระบบและคุณภาพการบริการออนไลน์ต่อความภักดีของลูกค้าในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นช้อปปี้: ผู้บริโภคในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน เอกสารการประชุมทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562, ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.