|
อาจารย์ ดร.ธนวิทย์ บุญสิทธิ์ |
|
|
|
ชื่อ - สกุล : อาจารย์ ดร.ธนวิทย์ บุญสิทธิ์
ตำแหน่ง : อาจารย์
โทรศัพท์ : 074-317600 ต่อ 1803
โทรศัพท์ : 074-317698
E - Mail : thanawit_dome@hotmail.com |
|
|
ประวัติการศึกษา |
ปี พ.ศ. |
ระดับ/วุฒิการศึกษา |
สาขาวิชา |
สถาบันการศึกษา / ประเทศ |
2550 |
MRes International Development. DEID |
- |
University of Bath/U.K. |
2546 |
ปริญญาโท/ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การศึกษา) |
เศรษฐศาสตร์การศึกษา |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ/ไทย |
2545 |
ประกาศนียบัตรภาษาอังกฤษสําหรับนักธุรกิจ |
- |
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช/ไทย |
2544 |
ปริญญาตรี/ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์) |
เศรษฐศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยทักษิณ สงขลา/ไทย |
|
|
|
ประสบการณ์ทํางานด้านการสอนและวิจัย
|
|
บรรยายในระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง Field survey in developing countries และ Advanced SPSS and AMOS for social sciences, University of Bath, United Kingdom |
2550 |
|
จัดอบรมในระดับบัณฑิตศึกษา SPSS for data analysis, University of Bath, United Kingdom
|
1 พ.ย. 2547 – ปัจจุบัน |
|
อาจารย์ประจําคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ |
31 พ.ค . - 30 ก.ย. 2547 |
|
อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ แผนกวิชาธุรกิจสัมพันธ์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตบพิตรพิมุข มหาเมฆ |
2546 - 2547 |
|
เศรษฐกร สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง |
2545 |
|
อาจารย์ผู้ช่วยสอน รายวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
|
|
|
การนําเสนองานวิจัยและบทความวิชาการ
|
นําเสนอบทความทางวิชาการในงาน the 8 CSR conference จัด โดยมหาวิทยาลัยแห่งแอฟริกาใต้ (UNISA) และ Le Montfort University นําเสนอในหัวขัอ ‘The linkage between microfinance, social entrepreneurship and sustainable development’ |
Protea Hotel President, Bantry Bay, Cape Town, South Africa |
23 มิ.ย. 2552 |
นําเสนองานวิจัยระดับภูมิภาคในงาน University of Bath Economics PhD conference นําเสนอในหัวข้อ ‘The ripple effect of group-based microfinance on wellbeing in rural Thailand’ |
University of Bath, Bath, United Kingdom |
15-18 มิ.ย. 2552 |
นําเสนองานวิจัยระดับนานาชาติในหัวข้อ ‘The impact of the NVUCF programme on poverty reduction and wellbeing in rural Thailand: Methodological approach’ |
Department of Economics, Facultes Universitaires Notre-Dame de la Paix (FUNDP), Namur, Belgium |
4 มิ.ย. 2552 |
นําเสนองานวิจัยระดับมหาวิทยาลัยในงานนําเสนอวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษา (Meeting of Minds, Postgraduate conference) นําเสนอในหัวข้อ ‘The Economics of happiness: can microfinance provide a way out of poverty and improve wellbeing?’ |
University of Bath, Bath, United Kingdom |
22 เม.ย. 2552 |
นําเสนอในหัวข้อ ‘The impact of the NVUCF programme on poverty reduction and wellbeing in rural Thailand’ |
DEID, University of Bath, Bath, United Kingdom |
25 มี.ค. 2552 |
นําเสนอในหัวข้อ ‘Fieldwork experience and some preliminary results: microfinance impact assessment in rural Thailand’ |
DEID, University of Bath, Bath, United Kingdom |
งานวิจัยและบทความวิชาการ |
1. The impact of the NVUCF programme on poverty reduction and wellbeing in rural Thailand: Methodological approach,2552 |
2. The impact of the National Village and Urban Community Fund programme on poverty reduction and wellbeing in rural Thailand (In process),2550-ปัจจุบัน |
3. The Linkage between socio-demographic and economic factors and wellbeing: structural model and comparative analysis. MRes dissertation, Department of Economics and International Development, University of Bath,2550 |
4. The Relationship between income, objective and subjective wellbeing: empirical evidence from rural Thailand. Long research project, Department of Economics and International Development, University of Bath,2550 |
5. Assessing multidimensional subjective wellbeing of Thai people in Bath. Short research project, Department of Economics and International Development, University of Bath,2550 |
6. Grass roots economic and social security programme and poverty alleviation in Thailand”, Briefing paper. University of Bath,2550 |
7. กลยุทธ์การพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ New development strategies: gross national product vs gross national happiness, Economics Journal of Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand,2548 |
8. ความเชื่อมโยงระหว่างการพัฒนามนุษย์กับการเจริญเติบโตและการพัฒนาเศรษฐกิจ : การศึกษาข้อมูลอนุกรมเวลาและ ข้อมูลภาคตัดขวางของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกโดยใช้เทคนิคแบบผสมผสาน (Linkage between human development, economic growth ,and economic development : a time-series study and cross country analysis with cointegration techniques) ศ.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ,2546 |
9. การศึกษาความต้องการในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในจังหวัดภูเก็ต (A study of foreign tourists’ demand for tourism in Phuket) ศ.บ., มหาวิทยาลัยทักษิณ สงขลา,2544 |
|
การได้รับทุนวิจัยและสัมมนา |
2552/53 : ได้รับทุนในการนําเสนอผลงานวิจัยในงาน Interdisciplinary social sciences conference ณ University of Cambridge |
2552 : ได้รับทุน EU-grant ให้เข้าร่วมการสัมมนาและอภิปรายในงานสัมมนานานาชาติ EASY-ECO conference on stakeholder perspectives in evaluating sustainable development ณ Central European University (CEU), Business school. Budapest, Hungary |
2552 : ได้รับทุนสนับสนุนในการเข้าร่วมโครงการ AMID* Summer School: an introduction to field surveys in LDCs. ณ Department of Economics, Facultes Universitaires Notre-Dame de la Paix (FUNDP), Namur, Belgium |
2546 : ได้รับทุนวิจัยสนับสนุนงานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ |
|
ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ |
โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติและเศรษฐมิติ (SPSS, AMOS, Eviews, STATA) โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพ (NVivo, MAXQDA), โปรแกรมจัดทําเอกสารอ้างอิงเพื่อการวิจัย (Endnote) และไมโครซอฟต์ออฟฟิส (Microsoft office) |
|
สาขางานวิจัยที่สนใจ |
1. เศรษฐศาสตร์การพัฒนา (Development Economics) |
ประเด็นที่สนใจ ได้แก่ การแก้ปัญหาความยากจน (Poverty reduction) ความอยู่ดีมีสุข (Wellbeing) และการวิเคราะห์ ผลกระทบของโครงการเงินกู้ขนาดย่อม (Microfinance impact assessment) |
2. เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioural Economics) |
ประเด็นที่สนใจ ได้แก่ แบบจําลองการตัดสินใจ (Models of decision making) และแนวคิดทางทฤษฎีการตัดสิ นใจอย่างมี เหตุผล (Rational choice theory) |
3. การท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Tourism for sustainable development) |
ประเด็นที่สนใจ ไ้ด้่แก่ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนและผลเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและสังคม (Community based tourism management and socio-economic linkages) การวิเคราะห์ผลกระทบเชิงนิเวศน์ (Ecosystem impact analysis) |
|
********************************* |
|
|
|
|